ปัญหาของการใช้สุขภัณฑ์
สาเหตุและการแก้ไข
1. โถชักโครกแบบ Flush Tank จะ ต้องหมั่นตรวจสอบดูแลอุปกรณ์ที่อยู่ในถังพักน้ำ ซึ่งมักจะมีปัญหาเช่น ตั้งคันโยก ไว้ต่ำเกินไปแหวนยางเสื่อมทำให้น้ำรั่วหรือมีน้ำไหลตลอดเวลา
2. ปัญหาน้ำขังที่พื้นห้องน้ำ มักเกิดขึ้นและมีสาเหตุจากการไม่ได้ปรับระดับความลาดเอียง ที่พื้นให้ดี ตั้งแต่ขั้นตอน การก่อสร้างหรือมีตำแหน่ง ท่อระบายน้ำ ที่พื้นไม่เพียงพอ เมื่อมีน้ำขัง ที่พื้นจะ ก่อให้เกิดคราบ ตะไคร่ ซึ่งทำให้พื้นลื่น และไม่สะอาดถูกสุขอนามัย การแก้ไขอาจจะต้องแยกพื้นที่ในห้องน้ำเป็นส่วนเปียกและส่วนแห้งอย่างชัดเจน เมื่อทำความสะอาด ก็จะต้องทำให้แห้งทันที
3. ข้อต่อท่อ ไม่ ว่าจะเป็นท่อน้ำดีหรือ ท่อ P-Trap ใต้อ่างล้างหน้าอาจหลวมทำให้น้ำหยดซึ่งสิ้นเปลืองน้ำ ดังนั้น จะต้องหมั่น ดูแลรักษา หากพบว่า ข้อต่อท่อ จุดใดมีปัญหาควร รีบซ่อมแซม
4. อ่างล้างหน้ามักมีปัญหาอุดตัน เนื่อง จากเศษอาหาร ดังนั้นไม่ควรล้างภาชนะที่มีเศษอาหารในอ่างล้างหน้า หรือหาก จำเป็นจริง ๆ ควรมี ถ้วยกรองเศษ อาคารติดไว้ที่สะดืออ่าง เมื่อล้างภาชนะเสร็จแล้ว ก็นำเศษอาหาร ไปทิ้งใน ถังขยะ
5. ปัญหาเรื่องกลิ่น ซึ่งอาจเกิดจากการขาดการรักษาความสะอาด หรือ อาจจะมีปัญหาที่ระบบท่อ เช่นบริเวณ ท่อระบายน้ำต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นที่อ่างล้างหน้า ที่สุขภัณฑ์ หรือ ที่พื้นเกิดจาก การไม่ได้ติดตั้ง ถ้วยดักกลิ่นเอาไว้ ทำให้เกิดปัญหากลิ่นย้อนกลับเข้ามา ในห้องน้ำ
6. ชักโครกราดไม่ลง ส้วมเอ่อ ซึ่งอาจเกิดจากประสิทธิภาพ ของระบบบำบัดไม่สอดคล้องกับปริมาณของผู้ใช้ หรือใช้ระบบบำบัดแบบบ่อเกรอะ-บ่อซึม ซึ่งอาจเกิดปัญหา ส้วมเต็ม การแก้ไขเบื้องต้นอาจทำโดย การเรียก บริการรถสูบส้วม และสังเกตอาการต่อไปอีก สาเหตุของปัญหาเรื่องชักโครกไม่ลง อาจเกิดจาก ไม่มีการติดตั้งท่ออากาศ หรือท่ออากาศ มีการอุดตันหรือมีขนาดเล็กเกินไป
7. การติดตั้งอ่างล้างหน้า จะ ต้องติดตั้งให้เรียบร้อยแน่นหนา อ่างล้างหน้าแบบแขวนผนัง จะต้องยึดอุปกรณ์ เกี่ยวให้แข็งแรง และคอยตรวจสอบไม่ให้เกิดสนิม ส่วนอ่างล้างหน้าแบบฝังเคาน์เตอร์เมื่อติดตั้งเสร็จแล้ว จะต้องยึดอ่างกับเคาน์เตอร์ด้วยปูนยาแนว หรือหากปูนยาแนวมีการแตกออก ก็ควรซ่อมแซมได้ง่าย ๆ ด้วยซิลิโคนชนิด Sanitary Silicone ซึ่งมีคุณสมบัติกันชื้นและเชื้อราได้
8. สายของฝักบัวสายอ่อนมักจะหักพับ หรือแตก เนื่องจากการติดตั้งที่ผิดวิธีโดยให้ส่วนที่ปล่อยน้ำดีจากก๊อกหงายขึ้น สายจะพับง่ายและแตก
บทความที่เกี่ยวข้อง
สาเหตุและการแก้ไข
1. โถชักโครกแบบ Flush Tank จะ ต้องหมั่นตรวจสอบดูแลอุปกรณ์ที่อยู่ในถังพักน้ำ ซึ่งมักจะมีปัญหาเช่น ตั้งคันโยก ไว้ต่ำเกินไปแหวนยางเสื่อมทำให้น้ำรั่วหรือมีน้ำไหลตลอดเวลา
2. ปัญหาน้ำขังที่พื้นห้องน้ำ มักเกิดขึ้นและมีสาเหตุจากการไม่ได้ปรับระดับความลาดเอียง ที่พื้นให้ดี ตั้งแต่ขั้นตอน การก่อสร้างหรือมีตำแหน่ง ท่อระบายน้ำ ที่พื้นไม่เพียงพอ เมื่อมีน้ำขัง ที่พื้นจะ ก่อให้เกิดคราบ ตะไคร่ ซึ่งทำให้พื้นลื่น และไม่สะอาดถูกสุขอนามัย การแก้ไขอาจจะต้องแยกพื้นที่ในห้องน้ำเป็นส่วนเปียกและส่วนแห้งอย่างชัดเจน เมื่อทำความสะอาด ก็จะต้องทำให้แห้งทันที
3. ข้อต่อท่อ ไม่ ว่าจะเป็นท่อน้ำดีหรือ ท่อ P-Trap ใต้อ่างล้างหน้าอาจหลวมทำให้น้ำหยดซึ่งสิ้นเปลืองน้ำ ดังนั้น จะต้องหมั่น ดูแลรักษา หากพบว่า ข้อต่อท่อ จุดใดมีปัญหาควร รีบซ่อมแซม
4. อ่างล้างหน้ามักมีปัญหาอุดตัน เนื่อง จากเศษอาหาร ดังนั้นไม่ควรล้างภาชนะที่มีเศษอาหารในอ่างล้างหน้า หรือหาก จำเป็นจริง ๆ ควรมี ถ้วยกรองเศษ อาคารติดไว้ที่สะดืออ่าง เมื่อล้างภาชนะเสร็จแล้ว ก็นำเศษอาหาร ไปทิ้งใน ถังขยะ
5. ปัญหาเรื่องกลิ่น ซึ่งอาจเกิดจากการขาดการรักษาความสะอาด หรือ อาจจะมีปัญหาที่ระบบท่อ เช่นบริเวณ ท่อระบายน้ำต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นที่อ่างล้างหน้า ที่สุขภัณฑ์ หรือ ที่พื้นเกิดจาก การไม่ได้ติดตั้ง ถ้วยดักกลิ่นเอาไว้ ทำให้เกิดปัญหากลิ่นย้อนกลับเข้ามา ในห้องน้ำ
6. ชักโครกราดไม่ลง ส้วมเอ่อ ซึ่งอาจเกิดจากประสิทธิภาพ ของระบบบำบัดไม่สอดคล้องกับปริมาณของผู้ใช้ หรือใช้ระบบบำบัดแบบบ่อเกรอะ-บ่อซึม ซึ่งอาจเกิดปัญหา ส้วมเต็ม การแก้ไขเบื้องต้นอาจทำโดย การเรียก บริการรถสูบส้วม และสังเกตอาการต่อไปอีก สาเหตุของปัญหาเรื่องชักโครกไม่ลง อาจเกิดจาก ไม่มีการติดตั้งท่ออากาศ หรือท่ออากาศ มีการอุดตันหรือมีขนาดเล็กเกินไป
7. การติดตั้งอ่างล้างหน้า จะ ต้องติดตั้งให้เรียบร้อยแน่นหนา อ่างล้างหน้าแบบแขวนผนัง จะต้องยึดอุปกรณ์ เกี่ยวให้แข็งแรง และคอยตรวจสอบไม่ให้เกิดสนิม ส่วนอ่างล้างหน้าแบบฝังเคาน์เตอร์เมื่อติดตั้งเสร็จแล้ว จะต้องยึดอ่างกับเคาน์เตอร์ด้วยปูนยาแนว หรือหากปูนยาแนวมีการแตกออก ก็ควรซ่อมแซมได้ง่าย ๆ ด้วยซิลิโคนชนิด Sanitary Silicone ซึ่งมีคุณสมบัติกันชื้นและเชื้อราได้
8. สายของฝักบัวสายอ่อนมักจะหักพับ หรือแตก เนื่องจากการติดตั้งที่ผิดวิธีโดยให้ส่วนที่ปล่อยน้ำดีจากก๊อกหงายขึ้น สายจะพับง่ายและแตก
Read more: http://www.novabizz.com/CDC/Process26.htm#ixzz29QOeuHfB
บทความที่เกี่ยวข้อง
งานสุขภัณฑ์