หลักการเลือกซื้อเครื่องทำน้ำอุ่น ให้ประหยัดไฟสูงสุด
ประการแรกเลย เลือกเครื่องทำน้ำอุ่นตามสภาพการใช้งาน
1. เลือกขนาดหม้อต้มน้ำ เดิมนั้นจะเป็นระบบลวดขดในสมัยก่อน แต่เพื่อความปลอดภัยต่อผู้ใช้งาน สมัยนี้จึงถูกปรับเปลี่ยนเป็นนแบบหม้อต้ม ซึ่งง่ายๆเลย อันไหนหม้อต้มใหญ่ อันนั้จะให้ความอุ่นของน้ำที่ได้จากเครื่องทำน้ำอุ่นมีความร้อนแบบสม่ำเสมอ
2. พิจารณาแรงดันน้ำที่ออกมาจากฝักบัว อันนี้ง่ายเลย ให้ลองทดสอบเปิดน้ำใช้เลย คือหลายฝักบัวแล้วเปิดน้ำแรงสุด หากความสูงดีพอประมาณถือว่าใช้ได้ แต่หากต่ำเกินไป ถือว่ายังไม่ผ่าน (อันนี้ต้องทดสอบกับสถานที่ติดตั้งนะ) หากว่าแรงดันน้ำในฝักบัวนั้นแรงมากๆ ท่านสามารถเลือกได้ทั้งเครื่องทำน้ำอุ่นแบบเล็กและใหญ่ แต่ถ้าแรงดันน้ำค่อนข้างเบา แนะนำให้เลือกเครื่องทำน้ำอุ่นแบบเล็กจะดีกว่า
3. อย่าลืมดูสภาพอากาศของบ้านคุณด้วย เพราะการจะใช้น้ำอุ่นนั้น หากบ้านคุณหนาวมากๆ แน่นอน ต้องใช้อุณหภูมิสูงในการอาบน้ำ แต่หากบ้านคุณอยู่ในเขตร้อน เมืองหลวง อันนี้แค่เครื่องเล็กก็พอแล้ว แค่ให้อุ่นเฉยๆ (มีผลต่อการเลือกขนาด Kw ของเครื่องทำน้ำอุ่น)
4. เลือกใช้เครื่องทำน้ำอุ่นแบบแผงควบคุมเป็นแบบหมุน จะซ่อมและทนทานกว่าแบบดิจิตอล ทั้งนี้ต้องดูแผงควบคุมกันไฟฟ้ารั่ว หรือระบบตัดไฟของเครื่องทำน้ำอุ่นนั้นๆด้วย (อันนี้แล้วแต่ความชอบนะ)
และขั้นตอนที่สอง ใช้น้ำอุ่นให้ประหยัดไฟ
1. ข้อแรกที่ต้องนึกถึงทั้งก่อนและหลังจากการใช้งานเครื่องทำน้ำอุ่นเลยก็คือ ปิดทันทีเมื่อไม่ใช้งาน
2. หากน้ำที่ได้นั้นไม่อุ่น ให้ทำการลดความแรงของน้ำลง แทนการเร่งความร้อนจากเครื่องทำน้ำอุ่น
3. อย่าลืมเรื่องความปลอดภัยในการเช็คการรั่วของประแสฟฟ้าอย่างสม่ำเสมอ
4. หากต้องการประหยัดไฟจริงๆ ลองเครื่องทำน้ำอุ่นแบบแก๊สดูสิ แต่ก็ไม่เป็นที่นิยม จึงทำให้หาซื้อได้ยาก ยังไงก็เป็นตัวเลือกของคนต้องการประหยัดไฟจริงๆ
สายดิน ?? ควรจะมีการเดินสายดิน แต่ก็ไม่เป็นไรมากนัก เพราะเครื่องทำน้ำอุ่นนั้น ไม่เหมือนเครื่องใช้ไฟฟ้าแบบอื่นๆ เพราะเครื่องทำน้ำอุ่น มีอายุการใช้งานยาวนานมาก แถมยังมีปัญหาน้อยเอามากๆ สายดึนจึงไม่จำเป็นเท่าไหร่ แต่!! เพื่อความปลอดถัยของผู้ใช้ ควรจะติดตั้งสายดินไว้ เพราะอะไรก็เกิดขึ้นได้ หากมีปัญหาของตัวเครื่อง หรือกระแสไฟฟ้า สายดินสามารถช่วยชีวิตท่านได้
เพราะนอกจากสายดินแล้ว บ้านส่วนมากจะมี อุปกรณ์ตัดไฟเพื่อป้องกันไฟไหม้อยู่แทบทุกหลัง และเครื่องทำน้ำอุ่นส่วนมาก รุ่นใหม่ๆจะติดตั้งตัวตัดไฟร่วมด้วยอีกชั้นหนึ่ง แต่หากมีการติดตั้งสายดินจากเครื่องทำน้ำอุ่นอย่างถูกวิธี จะดีกว่าอุปกรณ์ตัดไฟตรงี่ หากเกิดไฟฟ้าลัดวงจร แล้วเกิดไฟช็อค ผู้ใช้งานจะไม่โดนไฟช็อตก่อนที่ไฟจะตัด เป็นการเพิ่มความปลอดภัยอีกชั้นหนึ่ง เพราะฉะนั้น การติดตั้งสายดินของเครื่องทำน้ำอุ่น ถือว่าเป็นสิ่งที่มีความจำเป็น
บทความที่เกี่ยวข้อง
31.เปิดเครื่องทำน้ำอุ่นแล้วไฟดับ
32.หลักการเลือกขนาดของเครื่องทำน้ำอุ่น
33.ความหมายของสีท่อ pvc
34.ไฟเข้าเครื่องทำน้ำอุ่น แต่ระบบไม่ทำงาน
35.ฝักบัวแบบ Rain Shower
36.หลักสำคัญ การเลือกซื้อเครื่องทำน้ำอุ่น
37.ส่วนประกอบของเครื่องทำน้ำอุ่น
38.ภัยอันตรายจากเครื่องทำน้ำอุ่น
39.การเลือกซื้อเครื่องทำน้ำอุ่น ให้ประหยัดไฟ
1. เลือกขนาดหม้อต้มน้ำ เดิมนั้นจะเป็นระบบลวดขดในสมัยก่อน แต่เพื่อความปลอดภัยต่อผู้ใช้งาน สมัยนี้จึงถูกปรับเปลี่ยนเป็นนแบบหม้อต้ม ซึ่งง่ายๆเลย อันไหนหม้อต้มใหญ่ อันนั้จะให้ความอุ่นของน้ำที่ได้จากเครื่องทำน้ำอุ่นมีความร้อนแบบสม่ำเสมอ
2. พิจารณาแรงดันน้ำที่ออกมาจากฝักบัว อันนี้ง่ายเลย ให้ลองทดสอบเปิดน้ำใช้เลย คือหลายฝักบัวแล้วเปิดน้ำแรงสุด หากความสูงดีพอประมาณถือว่าใช้ได้ แต่หากต่ำเกินไป ถือว่ายังไม่ผ่าน (อันนี้ต้องทดสอบกับสถานที่ติดตั้งนะ) หากว่าแรงดันน้ำในฝักบัวนั้นแรงมากๆ ท่านสามารถเลือกได้ทั้งเครื่องทำน้ำอุ่นแบบเล็กและใหญ่ แต่ถ้าแรงดันน้ำค่อนข้างเบา แนะนำให้เลือกเครื่องทำน้ำอุ่นแบบเล็กจะดีกว่า
3. อย่าลืมดูสภาพอากาศของบ้านคุณด้วย เพราะการจะใช้น้ำอุ่นนั้น หากบ้านคุณหนาวมากๆ แน่นอน ต้องใช้อุณหภูมิสูงในการอาบน้ำ แต่หากบ้านคุณอยู่ในเขตร้อน เมืองหลวง อันนี้แค่เครื่องเล็กก็พอแล้ว แค่ให้อุ่นเฉยๆ (มีผลต่อการเลือกขนาด Kw ของเครื่องทำน้ำอุ่น)
4. เลือกใช้เครื่องทำน้ำอุ่นแบบแผงควบคุมเป็นแบบหมุน จะซ่อมและทนทานกว่าแบบดิจิตอล ทั้งนี้ต้องดูแผงควบคุมกันไฟฟ้ารั่ว หรือระบบตัดไฟของเครื่องทำน้ำอุ่นนั้นๆด้วย (อันนี้แล้วแต่ความชอบนะ)
และขั้นตอนที่สอง ใช้น้ำอุ่นให้ประหยัดไฟ
1. ข้อแรกที่ต้องนึกถึงทั้งก่อนและหลังจากการใช้งานเครื่องทำน้ำอุ่นเลยก็คือ ปิดทันทีเมื่อไม่ใช้งาน
2. หากน้ำที่ได้นั้นไม่อุ่น ให้ทำการลดความแรงของน้ำลง แทนการเร่งความร้อนจากเครื่องทำน้ำอุ่น
3. อย่าลืมเรื่องความปลอดภัยในการเช็คการรั่วของประแสฟฟ้าอย่างสม่ำเสมอ
4. หากต้องการประหยัดไฟจริงๆ ลองเครื่องทำน้ำอุ่นแบบแก๊สดูสิ แต่ก็ไม่เป็นที่นิยม จึงทำให้หาซื้อได้ยาก ยังไงก็เป็นตัวเลือกของคนต้องการประหยัดไฟจริงๆ
สายดิน ?? ควรจะมีการเดินสายดิน แต่ก็ไม่เป็นไรมากนัก เพราะเครื่องทำน้ำอุ่นนั้น ไม่เหมือนเครื่องใช้ไฟฟ้าแบบอื่นๆ เพราะเครื่องทำน้ำอุ่น มีอายุการใช้งานยาวนานมาก แถมยังมีปัญหาน้อยเอามากๆ สายดึนจึงไม่จำเป็นเท่าไหร่ แต่!! เพื่อความปลอดถัยของผู้ใช้ ควรจะติดตั้งสายดินไว้ เพราะอะไรก็เกิดขึ้นได้ หากมีปัญหาของตัวเครื่อง หรือกระแสไฟฟ้า สายดินสามารถช่วยชีวิตท่านได้
เพราะนอกจากสายดินแล้ว บ้านส่วนมากจะมี อุปกรณ์ตัดไฟเพื่อป้องกันไฟไหม้อยู่แทบทุกหลัง และเครื่องทำน้ำอุ่นส่วนมาก รุ่นใหม่ๆจะติดตั้งตัวตัดไฟร่วมด้วยอีกชั้นหนึ่ง แต่หากมีการติดตั้งสายดินจากเครื่องทำน้ำอุ่นอย่างถูกวิธี จะดีกว่าอุปกรณ์ตัดไฟตรงี่ หากเกิดไฟฟ้าลัดวงจร แล้วเกิดไฟช็อค ผู้ใช้งานจะไม่โดนไฟช็อตก่อนที่ไฟจะตัด เป็นการเพิ่มความปลอดภัยอีกชั้นหนึ่ง เพราะฉะนั้น การติดตั้งสายดินของเครื่องทำน้ำอุ่น ถือว่าเป็นสิ่งที่มีความจำเป็น
ความรู้เรื่องเครื่องทำน้ำอุ่น 4.
บทความที่เกี่ยวข้อง
31.เปิดเครื่องทำน้ำอุ่นแล้วไฟดับ
32.หลักการเลือกขนาดของเครื่องทำน้ำอุ่น
33.ความหมายของสีท่อ pvc
34.ไฟเข้าเครื่องทำน้ำอุ่น แต่ระบบไม่ทำงาน
35.ฝักบัวแบบ Rain Shower
36.หลักสำคัญ การเลือกซื้อเครื่องทำน้ำอุ่น
37.ส่วนประกอบของเครื่องทำน้ำอุ่น
38.ภัยอันตรายจากเครื่องทำน้ำอุ่น
39.การเลือกซื้อเครื่องทำน้ำอุ่น ให้ประหยัดไฟ
page preview