การบำบัดกากตะกอนหรือสลัดจ์ (Sludge Treatment)
ระบบบำบัดน้ำเสียที่ใช้หลักการทางชีวภาพจะมี กากตะกอนจุลินทรีย์ หรือ สลัดจ์ เป็นผลผลิตตามมาด้วยเสมอ ซึ่งเป็นผลจาก การเจริญเติบโตของ จุลินทรีย์ ในการกิน สารอินทรีย์ ใน น้ำเสีย ดังนั้นจึงจำเป็นต้อง บำบัดสลัดจ์ เหล่านั้น เพื่อไม่ให้เกิดปัญหา การเน่าเหม็นของสลัดจ์ การเพิ่มภาวะมลพิษ และเป็น การทำลายเชื้อโรค ด้วย นอกจากนี้ การลดปริมาตรของสลัดจ์ โดยการ กำจัดน้ำออกจากสลัดจ์ ช่วยให้เกิดความสะดวกในการเก็บขนไป กำจัดทิ้ง หรือนำไปใช้ ประโยชน์อื่นๆ ทั้งนี้ใน การบำบัดสลัด ประกอบด้วย กระบวนการหลักๆ ได้แก
การทำข้น (Thickener) โดยใช้ถังทำข้นซึ่งมีทั้งที่ใช้กลไกการตกตะกอน (Sedimentation) และใช้กลไกการลอยตัว (Floatation) ทำหน้าที่ในการลดปริมาณสลัดจ์ก่อนส่งไปบำบัดโดยวิธีการอื่นต่อไป
การทำให้สลัดจ์คงตัว (Stabilization) โดยการย่อยสลัดจ์ด้วยกระบวนการใช้อากาศ หรือ ใช้กระบวนการไร้อากาศ เพื่อทำหน้าที่ใน การลดสารอินทรีย์ ใน สลัดจ์ ทำให้สลัดจ์คงตัวสามารถนำไปทิ้งได้โดยไม่เน่าเหม็น
การปรับสภาพสลัดจ์ (Conditioning) เพื่อทำให้สลัดจ์มีความเหมาะสมกับการนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป เช่น ทำปุ๋ย การใช้ปรับสภาพดิน สำหรับใช้ทาง การเกษตร เป็นต้น
การรีดน้ำ (Dewatering) เพื่อลดปริมาณสลัดจ์ที่จะนำไปทิ้งโดยการฝังกลบ การเผา หรือนำไปใช้ประโยชน์อื่น ซึ่งทำให้เกิด ความสะดวก ในการขนส่ง โดยอุปกรณ์ที่ใช้ในการรีดน้ำ ได้แก่ เครื่องกรองสูญญากาศ (Vacuum filter) เครื่องอัดกรอง (Filter press) หรือ เครื่องกรองหมุนเหวี่ยง (Centrifuge) รวมถึง การลานตากสลัดจ์ (Sludge drying bed)
2.การหมักทำปุ๋ย (Composting) : เป็นการนำสลัดจ์มาหมักต่อเพื่อนำไปใช้เป็นปุ๋ย ซึ่งเป็นการนำสลัดจ์กลับมาใช้ประโยชน์ใน การเป็นปุ๋ยสำหรับปลูกพืช เนื่องจากใน สลัดจ์ประกอบ ด้วยธาตุอาหารที่จำเป็นใน การเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และแร่ธาตุต่างๆ
3.การเผา (Incineration) : เป็นการนำสลัดจ์ที่จวนแห้ง (ตั้งแต่ร้อยละ 40 ของของแข็งขึ้นไป) มาเผา เพราะเนื่องจาก ไม่สามารถนำไปใช้ ทำปุ๋ย หรือ ฝังกลบได้
Read more: http://www.novabizz.com/CDC/System/Waste_Water_Treatment.htm#ixzz29VdgX1r0
บทความที่เกี่ยวข้อง
ระบบบำบัดน้ำเสียที่ใช้หลักการทางชีวภาพจะมี กากตะกอนจุลินทรีย์ หรือ สลัดจ์ เป็นผลผลิตตามมาด้วยเสมอ ซึ่งเป็นผลจาก การเจริญเติบโตของ จุลินทรีย์ ในการกิน สารอินทรีย์ ใน น้ำเสีย ดังนั้นจึงจำเป็นต้อง บำบัดสลัดจ์ เหล่านั้น เพื่อไม่ให้เกิดปัญหา การเน่าเหม็นของสลัดจ์ การเพิ่มภาวะมลพิษ และเป็น การทำลายเชื้อโรค ด้วย นอกจากนี้ การลดปริมาตรของสลัดจ์ โดยการ กำจัดน้ำออกจากสลัดจ์ ช่วยให้เกิดความสะดวกในการเก็บขนไป กำจัดทิ้ง หรือนำไปใช้ ประโยชน์อื่นๆ ทั้งนี้ใน การบำบัดสลัด ประกอบด้วย กระบวนการหลักๆ ได้แก
การทำข้น (Thickener) โดยใช้ถังทำข้นซึ่งมีทั้งที่ใช้กลไกการตกตะกอน (Sedimentation) และใช้กลไกการลอยตัว (Floatation) ทำหน้าที่ในการลดปริมาณสลัดจ์ก่อนส่งไปบำบัดโดยวิธีการอื่นต่อไป
การทำให้สลัดจ์คงตัว (Stabilization) โดยการย่อยสลัดจ์ด้วยกระบวนการใช้อากาศ หรือ ใช้กระบวนการไร้อากาศ เพื่อทำหน้าที่ใน การลดสารอินทรีย์ ใน สลัดจ์ ทำให้สลัดจ์คงตัวสามารถนำไปทิ้งได้โดยไม่เน่าเหม็น
การปรับสภาพสลัดจ์ (Conditioning) เพื่อทำให้สลัดจ์มีความเหมาะสมกับการนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป เช่น ทำปุ๋ย การใช้ปรับสภาพดิน สำหรับใช้ทาง การเกษตร เป็นต้น
การรีดน้ำ (Dewatering) เพื่อลดปริมาณสลัดจ์ที่จะนำไปทิ้งโดยการฝังกลบ การเผา หรือนำไปใช้ประโยชน์อื่น ซึ่งทำให้เกิด ความสะดวก ในการขนส่ง โดยอุปกรณ์ที่ใช้ในการรีดน้ำ ได้แก่ เครื่องกรองสูญญากาศ (Vacuum filter) เครื่องอัดกรอง (Filter press) หรือ เครื่องกรองหมุนเหวี่ยง (Centrifuge) รวมถึง การลานตากสลัดจ์ (Sludge drying bed)
การกำจัดกากตะกอนหรือสลัดจ์ (Sludge Disposal)
หลังจากสลัดจ์ที่เกิดขึ้นจาก การบำบัดน้ำเสียได้รับการบำบัดให้มีความคงตัว ไม่มีกลิ่นเหม็น และ มีปริมาตรลดลง เพื่อความสะดวกในการขนส่งแล้ว ในขั้นต่อมาก็คือ การนำ สลัดจ์ เหล่านั้นไป กำจัดทิ้งโดยวิธีการที่เหมาะสม ซึ่งวิธีการกำจัดทิ้งที่ใช้ในปัจจุบัน ได้แก่
1.การฝังกลบ (Landfill): เป็นการนำสลัดจ์มาฝังใน สถานที่ที่จัดเตรียมไว้ และกลบด้วยชั้นดินทับอีก ชั้นหนึ่ง
หลังจากสลัดจ์ที่เกิดขึ้นจาก การบำบัดน้ำเสียได้รับการบำบัดให้มีความคงตัว ไม่มีกลิ่นเหม็น และ มีปริมาตรลดลง เพื่อความสะดวกในการขนส่งแล้ว ในขั้นต่อมาก็คือ การนำ สลัดจ์ เหล่านั้นไป กำจัดทิ้งโดยวิธีการที่เหมาะสม ซึ่งวิธีการกำจัดทิ้งที่ใช้ในปัจจุบัน ได้แก่
1.การฝังกลบ (Landfill): เป็นการนำสลัดจ์มาฝังใน สถานที่ที่จัดเตรียมไว้ และกลบด้วยชั้นดินทับอีก ชั้นหนึ่ง
2.การหมักทำปุ๋ย (Composting) : เป็นการนำสลัดจ์มาหมักต่อเพื่อนำไปใช้เป็นปุ๋ย ซึ่งเป็นการนำสลัดจ์กลับมาใช้ประโยชน์ใน การเป็นปุ๋ยสำหรับปลูกพืช เนื่องจากใน สลัดจ์ประกอบ ด้วยธาตุอาหารที่จำเป็นใน การเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และแร่ธาตุต่างๆ
3.การเผา (Incineration) : เป็นการนำสลัดจ์ที่จวนแห้ง (ตั้งแต่ร้อยละ 40 ของของแข็งขึ้นไป) มาเผา เพราะเนื่องจาก ไม่สามารถนำไปใช้ ทำปุ๋ย หรือ ฝังกลบได้
Read more: http://www.novabizz.com/CDC/System/Waste_Water_Treatment.htm#ixzz29VdgX1r0
บทความที่เกี่ยวข้อง
ระบบบำบัดน้ำเสีย