การตรวจสอบไฟฟ้าในบ้านว่ารั่วหรือไม่ ก็คล้ายกับการตรวจสอบน้ำประปาว่ารั่วหรือเปล่านั่นเอง วิธีการก็คือ ให้ปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิดภายในบ้าน รวมถึงถอดปลั๊กเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้งานออกด้วยทุกจุด แต่ไม่ต้องปิดสะพานไฟคัตเอาท์ แล้วลองวิ่งออกไปดูว่ามิเตอร์และแผ่นจานในมิเตอร์นั้นหมุนหรือไม่ หากหมุนอยู่ ก็แสดงว่าคุณปิดไฟในบ้านไม่หมด ให้ลองกลับไปตรวจสอบในบ้านอีกครั้ง หากพบว่าตรวจสอบแล้ว ทุกจุดปิดไฟถอดปลั๊กไม่มีการใช้งานแม้แต่จุดเดียว แต่เจ้าแผ่นจานหมุนในมิเตอร์ยังหมุนอยู่ ก็แสดงว่าไฟฟ้าในบ้านของเรานั้นรั่วเข้าแล้ว
แต่หากว่าตัวเลขที่มิเตอร์ไม่หมุน และแผ่นจานก็อยู่นิ่ง ๆ ก็อย่าได้นิ่งนอนใจ ให้ลองจดหมายเลขมิเตอร์และจดตำแหน่งเจ้าแผ่นหมุนเล็ก ๆ ไว้ ว่าหมุนไปหยุดอยู่ที่ใด ทิ้งไว้สัก 1-4 ชม.
โดยยังไม่ต้องเปิดใช้งาน (กรณีนี้อาจต้องพาสมาชิกในครอบครัวออกไปเที่ยวนอกบ้านกันสักครึ่งวัน) หากกลับมาดูใหม่แล้วทุกอย่างยังเหมือนเดิม ก็แสดงว่าไฟฟ้าในบ้านของเราไม่รั่วแล้ว แต่ถ้ามีการหมุนเคลื่อนตำแหน่งออกไปก็แสดงว่ามีการรั่วเช่นกัน
วิธีตรวจสอบไฟฟ้ารั่ว |
แต่หากว่าตัวเลขที่มิเตอร์ไม่หมุน และแผ่นจานก็อยู่นิ่ง ๆ ก็อย่าได้นิ่งนอนใจ ให้ลองจดหมายเลขมิเตอร์และจดตำแหน่งเจ้าแผ่นหมุนเล็ก ๆ ไว้ ว่าหมุนไปหยุดอยู่ที่ใด ทิ้งไว้สัก 1-4 ชม.
โดยยังไม่ต้องเปิดใช้งาน (กรณีนี้อาจต้องพาสมาชิกในครอบครัวออกไปเที่ยวนอกบ้านกันสักครึ่งวัน) หากกลับมาดูใหม่แล้วทุกอย่างยังเหมือนเดิม ก็แสดงว่าไฟฟ้าในบ้านของเราไม่รั่วแล้ว แต่ถ้ามีการหมุนเคลื่อนตำแหน่งออกไปก็แสดงว่ามีการรั่วเช่นกัน
ข้อมูลอ้างอิง หนังสือฟื้นฟูบ้านหลังน้ำท่วม+พลังงานในบ้าน
บทความที่เกี่ยวข้อง
21.ติดตั้งสายดินไปทำไม
22.เครื่องใช้ไฟฟ้าที่จำเป็นต้องมีสายดิน
23.วิธีติดตั้งระบบสายดิน
24.ประโยชน์ของเครื่องตัดไฟฟ้ารั่ว
25.ติดตั้งเครื่องตัดไฟรั่วหรือสายดิน
26.วิธีตรวจสอบไฟฟ้ารั่ว
27.เมื่อไหร่ควรจะเปลี่ยนสายไฟในบ้าน
28.การขอใช้ไฟฟ้าประเภทบ้าน
29.ความสำคัญของไฟฟ้า
30.อุปกรณ์ไฟฟ้ากับเครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่องอุปกรณ์ไฟฟ้าในบ้าน
21.ติดตั้งสายดินไปทำไม
22.เครื่องใช้ไฟฟ้าที่จำเป็นต้องมีสายดิน
23.วิธีติดตั้งระบบสายดิน
24.ประโยชน์ของเครื่องตัดไฟฟ้ารั่ว
25.ติดตั้งเครื่องตัดไฟรั่วหรือสายดิน
26.วิธีตรวจสอบไฟฟ้ารั่ว
27.เมื่อไหร่ควรจะเปลี่ยนสายไฟในบ้าน
28.การขอใช้ไฟฟ้าประเภทบ้าน
29.ความสำคัญของไฟฟ้า
30.อุปกรณ์ไฟฟ้ากับเครื่องใช้ไฟฟ้า